หน้าหลัก
ITA
LPA
ประกาศจากระบบ e-GP
ประกาศจากระบบ e-GP ในเครือข่าย
องค์การบริหารส่วนตำบล หัวถนน ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้
ยอมรับ
อบต.หัวถนน
อ.คลองขลุง จ.กำแพงเพชร
www.huatanoan.go.th
อบต.หัวถนน
อ.คลองขลุง จ.กำแพงเพชร
www.huatanoan.go.th
ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์
ศูนย์รวมใจของตำบล
วัดโนนดุม
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
วัดอุเบกขาราม
กิจกรรมโรงเรียนวิถีพุทธ
ผลิตภัณฑ์เสริม สร้างรายได้
องค์การบริหารส่วนตำบลหัวถนน
Huatanoan Subdistrict Administrative Organization
1
2
3
4
5
 
วิสัยทัศน์ อบต.หัวถนน การคมนาคมสะดวก สนับสนุนการศึกษา ส่งเสริมเศรษฐกิจ พัฒนาคุณภาพชีวิต ประชาชนมีส่วนร่วม ชุมชนเข้มแข็ง สืบสานวัฒนธรรม
 
 
 
ิธีปฏิบัติงาน เรื่อง แนวทางการใช้เครื่องพ่นหมอกควันสะพายไหล่ควบคุมโรคไข้เลือดออก
วิธีปฏิบัติงาน เรื่อง แนวทางการใช้เครื่องพ่นหมอกควันสะพายไหล่ควบคุมโรคไข้เลือดออก
1. วัตถุประสงค์
เพื่อลดความหนาแน่นของประชากรยุงลายให้เหลือน้อยที่สุดเท่าที่จะท าได้ รวมทั ้งลดอายุขัยยุงลาย
เพศเมียให้สั ้นลง และเพื่อก าจัดประชากรยุงลายเพศเมียที่มีเชื ้อไข้เลือดออกในตัวให้หมดไปอย่างรวดเร็ว
ในช่วงการระบาดของโรคไข้เลือดออกโดยมาตรการนี ้ใช้เป็ นมาตรการเสริมกับการลดแหล่งเพาะพันธุ์
ยุงลาย
2. ผู้ปฏิบัติ(การพ่นหมอกควัน)
2.1 หัวหน้าทีมพ่น (ที่ผ่านการอบรมการควบคุมพาหะน าโรคและการใช้เครื่องพ่น)
จ านวน 1 คน
2.2 พนักงานพ่นหมอกควันสะพายไหล่ จ านวน 3 คน
2.3 ผู้ช่วยพ่นและเตรียมวัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือ จ านวน 2 คน
2.4 พนักงานขับรถยนต์ จ านวน 1 คน
(หมายเหตุ-
1. พนักงานพ่นหมอกควันสะพายไหล่ และผู้ช่วยพ่นต้องได้รับการอบรมการใช้เครื่องพ่นมาแล้ว
หรืออย่างน้อยต้องได้รับการฝึ กหัดจากหัวหน้าทีมมาแล้ว
2. หากจ านวนคนไม่พออาจใช้ผู้ช่วยพ่นขับรถยนต์แทนได้
3. เฉพาะการพ่นหมอกควัน ถ้าคนไม่พออาจตัดผู้ช่วยพ่นออกเลยก็ได้
4. เครื่องพ่น 1 เครื่องต่อพนักงานพ่น 2 คนคอยท างานสลับกัน (หัวหน้าทีมก็สามารถช่วยพ่น
ได้หากคนไม่พอ)
5. ทีมหนึ่งอย่างน้อยต้องมีเครื่องพ่นไม่น้อยกว่า 2 เครื่อง
6. ทุกคนในทีมต้องสวมชุดป้ องกันสารเคมี และอุปกรณ์ป้ องกันสารเคมีส่วนบุคคล
7. อุปกรณ์ป้ องกันส่วนบุคคลส าหรับพนักงานพ่นเคมี คือถุงมือยาง, หน้ากากป้ องกันสารเคมี
N95 (หน้ากากอนามัยจะไม่เหมาะสมเท่าใด เนื่องจากเมื่อเปี ยกแล้วจะท าให้หายใจไม่ออก
และต้องสูดหายใจแรงๆท าให้สารเคมีที่เกาะอยู่ด้านนอกถูกสูดเข้าไปในปอดด้วย ควรใช้
2
หน่วยงาน.ส านักโรคติดต่อน าโดยแมลง
............................................................
ฉบับที่...........1/2558……..…………….
วิธีปฏิบัติงานที่...VC-01……………….. ประกาศใช้.....29/10/2558……………..
เรื่อง..แนวทางการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน
สะพายไหล่ควบคุมโรคไข้เลือดออก
หน้าที่............2/10……………….……..
ผ้าเช็ดหน้าผืนใหญ่พับเป็ นสามเหลี่ยมผูกแทนจะป้ องกันได้ดีกว่า), หมวกป้ องกันสารเคมีตก
ใส่ศรีษะ, ปลั๊กอุดหู, แว่นตาป้ องกันสารเคมี และรองเท้าบู๊ต (หรือรองเท้าหุ้มส้น)
8. หน้ากากป้ องกันสารเคมีควรมีการเปลี่ยนใหม่เป็ นระยะๆ เนื่องจากจะมีสารเคมีเกาะสะสม
อยู่ในเนื ้อหน้ากากมากขึ ้นเรื่อยๆ
3. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้
3.1 อุปกรณ์ป้ องกันสารเคมีส่วนบุคคล ได้แก่
-ชุดป้องกันสารเคมี(ถ้าไม่มีให้ใส่เสื ้อแขนยาวหนาๆและกางเกงขายาว)
- หมวกป้ องกันละอองสารเคมีตกใส่ศีรษะ
-ถุงมือยาง
- หน้ากากป้ องกันสารเคมี N95
- ปลั๊กอุดหู
-แว่นตาป้ องกันสารเคมี
- รองเท้าบู๊ตหรือรองเท้าหุ้มส้น (ห้ามใส่รองเท้าแตะ)
3.2 เครื่องพ่นหมอกควัน จ านวน 3 เครื่อง
3.3 ถังบรรจุน ้ามันดีเซล ขนาด 20 ลิตร จ านวน 1 ใบ
3.4 ถังบรรจุน ้ามันเบนซิน ขนาด 20 ลิตร จ านวน 1 ใบ
3.5 ถังใส่น ้ายาเคมีที่ผสมแล้ว ขนาด 20 ลิตร จ านวน 1 ใบ
3.6 ถังปากกว้างส าหรับผสมสารเคมีขนาด 40 ลิตรขึ ้นไป จ านวน 1 ใบ
3.7 ไม้ส าหรับใช้คนเวลาผสมสารเคมี จ านวน 1 อัน
3.8กรวยกรองน ้ามันส าหรับน ้ามันเบนซิน จ านวน 1 อัน
3.9กรวยกรองน ้ามันดีเซลหรือน ้ายาที่ผสมแล้ว จ านวน 1 อัน
3.10 สารเคมีส าหรับพ่น จ านวน 1 โหล
3.11 ทรายก าจัดลูกน ้า จ านวน 1 ลัง
3.12ยาทากันยุงกัด จ านวน 1 ลัง
3.13 เครื่องมือซ่อมเครื่องพ่น จ านวน 1 ชุด
3
หน่วยงาน.ส านักโรคติดต่อน าโดยแมลง
............................................................
ฉบับที่...........1/2558……..…………….
วิธีปฏิบัติงานที่...VC-01……………….. ประกาศใช้.....29/10/2558……………..
เรื่อง..แนวทางการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน
สะพายไหล่ควบคุมโรคไข้เลือดออก
หน้าที่............3/10……………………...
3.14 ถังดับเพลิง จ านวน 1 ถัง
3.15รถยนต์ จ านวน 1 คัน
4. วิธีปฏิบัติ
1.การขออนุมัติปฏิบัติงาน
1. ขออนุมัติเดินทาง (ต้องได้รับมอบหมายและอนุมัติให้ด าเนินการชัดเจน ห้ามออกด าเนินการเอง
ตามอ าเภอใจ เนื่องจากหากเกิดความเสียหายจะมีความผิดทางราชการด้วย)
2. ท าเรื่องเบิกจ่ายเบี ้ยเลี ้ยง ค่าเดินทาง ค่าน ้ามันเชื ้อเพลิงรถยนต์ ค่าน ้ามันเชื ้อเพลิงเครื่องพ่น และ
ค่าน ้ามันดีเซลผสมสารเคมี
2. การเตรียมพื้นที่ก่อนพ่น
1. ท าแผนที่ของพื ้นที่ที่จะพ่นอย่างละเอียดรอบคอบให้เสร็จก่อนที่จะเริ่มต้นฉีดพ่นอย่างน้อย 1วัน
2. พื ้นที่พ่นควรครอบคลุมรัศมีอย่างน้อย 100 เมตรรอบบ้านผู้ป่ วย
3. สอบถามข้อมูลผู้ป่ วยโรคอื่นๆ ผู้ป่ วยติดเตียง ฟาร์มปลา กุ้ง ปู ที่อยู่ภายในหรือใกล้บริเวณที่ต้อง
ฉีดพ่น เพื่อการระมัดระวังเป็ นพิเศษ (อาจต้องแนะน าให้ใช้สเปรย์ฉีดยุงกระป๋ องฉีดพ่นเอง)
4. นัดวันพ่น และบอกวิธีการเตรียมบ้านเพื่อรับการพ่นก่อนล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วัน พ่นหมอกควัน
ต้องปิ ดบ้าน)
3. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์สารเคมี และเครื่องพ่น
1. ตรวจเช็คเครื่องพ่นให้พร้อมใช้งาน และทดลองสตาร์ทเครื่องพ่นทุกเครื่อง
2. เตรียมสารเคมีที่จะน าไปด้วยใส่รถ เช่น สารเคมีส าหรับพ่น (ควรเตรียมทรายก าจัดลูกน ้าและยา
ทาป้ องกันยุงกัดไปด้วยเพื่อก าจัดลูกน ้าและยาทาป้ องกันยุงกัด ส าหรับบ้านผู้ป่ วยและบ้านที่อยู่
ในรัศมี 100 เมตร)
3. เตรียมน ้ามันผสมสารเคมีและน ้ามันเชื ้อเพลิงเครื่องพ่น
4. ผสมสารเคมีใส่ถังน ้ามันไว้ก่อนส่วนหนึ่ง โดยผสมในถังผสมต่างหากโดยใช้ไม้หรือวัสดุอย่างอื่น
คนให้สารเคมีผสมเข้ากันดีกับน ้ามันดีเซลอย่างน้อย 15 นาทีแล้วจึงรินใส่เครื่องพ่นและส่วนที่
เหลือให้รินใส่ถังส าหรับใส่น ้ายาที่ผสมแล้วโดยต้องใช้กรวยกรองน ้ายาที่มีตะแกรงกรองเสมอ
4. สารเคมีที่ใช้พ่น
สารฆ่าแมลงที่ใช้เป็ นส่วนใหญ่คือสารกลุ่มไพรีทรอยด์ แต่ปัจจุบันพบว่าในหลายพื ้นที่มียุงลาย
ต้านทานสารไพรีทรอยด์เกิดขึ ้น ดังนั ้นวิธีแก้ปัญหานี ้คือต้องเลือกใช้สารไพรีทรอยด์ที่มีส่วนผสมของสาร
4
หน่วยงาน.ส านักโรคติดต่อน าโดยแมลง
............................................................
ฉบับที่...........1/2558……..…………….
วิธีปฏิบัติงานที่...VC-01……………….. ประกาศใช้....29./10/2558……………..
เรื่อง..แนวทางการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน
สะพายไหล่ควบคุมโรคไข้เลือดออก
หน้าที่...........4/10……………….……..
Piperonyl Butoxide (PBO) อยู่ในสูตรด้วยสารนี ้จดัเป็นสารเสริมฤทธิ์ซงึ่ จะช่วยยับยั ้งกลไกการขจัด
สารพิษ (สารไพรีทรอยด์) ที่เกิดขึ ้นภายในร่างกายยุงที่ต้านทานได้ จะท าให้สารไพรีทรอยด์ที่ใช้ฉีดพ่น
สามารถฆ่ายุงได้ส าเร็จ หรืออีกวิธีหนึ่งอาจเลือกใช้สารฆ่าแมลงกลุ่มออแกโนฟอสเฟตแทน เช่น สารเฟน
นิโตไธออน สารนี ้ยังไม่ค่อยมีการน ามาใช้เท่าใดนักเนื่องจากมีกลิ่นฉุนกว่าสารไพรีทรอยด์ควรน าสาร
กลุ่มนี ้มาใช้ฆ่ายุงที่ต้านทานสารไพรีทรอยด์ให้หมดไปสักระยะหนึ่ง เมื่อในหมู่บ้าน/ชุมชนไม่มียุง
ต้านทานสารไพรีทรอยด์หลงเหลือแล้วก็สามารถหวนกลับมาใช้สารไพรีทรอยด์ได้อีก สารทั ้ง 2 กลุ่มที่ใช้นี ้
จะต้องเป็ นสูตรอีซี (EC ; emulsifiable concentrate) ซึ่งเป็ นสูตรน ้ามันแต่สามารถละลายได้ทั ้งในน ้ามัน
ดีเซลหรือน ้าแต่ถ้าใช้น ้าผสมสารเคมี สารผสมนี ้จะต้องใช้กับเครื่องพ่นยูแอลวีเท่านั ้น นอกจากนี ้สารเคมี
แต่ละยี่ห้อแม้จะเป็ นสารชนิดเดียวกันก็ตามแต่หากมีเปอรเซ็นต์ของสารออกฤทธิ์ตา่ งกนั เช่น เดลตา
มิทริน 0.5% และเดลตามิทริน 2% การผสมตัวท าละลายจะใช้ปริมาณแตกต่างกันด้วย ดังนั ้นควรอ่าน
ฉลากให้รอบคอบก่อนที่จะผสมสารเคมี(วิธีผสมสารเคมีอ่านเพิ่มเติมได้ในหนังสือ คู่มือการใช้เครื่องพ่น
ส าหรับผู้ปฏิบัติการเพื่อป้ องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 2557หรือดาวน์โหลดได้ที่
http://thaivbd.org.th )
5.สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการพ่น
1. ไม่ควรพ่นในช่วงเวลาที่แดดแรงมาก เนื่องจากคลื่นความร้อนจากพื ้นจะท าให้หมอกควันลอยตัว
ขึ ้นสู่เบื ้องสูงเร็วท าให้ปริมาณของหมอกควันและสารเคมีไม่เพียงพอที่จะฆ่ายุงที่บินหรือเกาะพัก
ในบริเวณต ่าๆได้แม้แต่พ่นในบ้านก็ตามถ้าในห้องมีไอร้อนมากก็ไม่ควรพ่น
2. ไม่ควรพ่นเมื่อลมแรงเกิน 13กิโลเมตร/ชั่วโมง (พ่นนอกบ้าน) ถ้าลมแรงกว่านี ้ไม่ควรพ่น เพราะ
ละอองจะปลิวหายไปอย่างรวดเร็ว ควรหยุดรอให้ลมสงบก่อน
3. ควรหยุดพ่นเมื่อมีฝนตก แล้วพ่นใหม่หลังฝนหยุดตกแล้ว
4. หมอกควันจะไม่มีประสิทธิภาพในช่วงฝนตก
6. ช่วงเวลาการเข้าปฏิบัติการพ่นที่เหมาะสม
1. ทีมพ่นควรเข้าปฏิบัติการทันทีที่ได้รับรายงานยืนยันว่าผู้ป่ วยสงสัยป่ วยเป็ นโรคไข้เลือดออกจริง
ไม่ควรล่าช้า (ส าหรับสถานพยาบาลที่ส่งตัวผู้ป่ วยสงสัยไปตรวจยืนยันการติดเชื ้อที่โรงพยาบาล
ในระหว่างรอผลควรแนะน าให้ญาติผู้ป่ วยใช้สเปรย์ฉีดยุงกระป๋ องฉีดฆ่ายุงที่มีอยู่ในบ้านและรอบ
บ้านตนเองให้ยุงตัวเต็มวัยในช่วงเวลานั ้นตายไปให้มากที่สุดอย่างรวดเร็วก่อนที่รายงานผลจะ
ออก เนื่องจากยุงที่บ้านผู้ป่ วยอาจมีเชื ้อและไปกัดแพร่เชื ้อให้คนอื่นต่อไป)
5
หน่วยงาน.ส านักโรคติดต่อน าโดยแมลง
............................................................
ฉบับที่...........1/2558……..…………….
วิธีปฏิบัติงานที่...VC-01……………….. ประกาศใช้.....29/10/2558…………......
เรื่อง..แนวทางการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน
สะพายไหล่ควบคุมโรคไข้เลือดออก
หน้าที่............5/10……………….……..
2. การพ่นฟุ้ งกระจายนอกจากจะพ่นเมื่อมีการยืนยันผู้ป่ วยหรือเมื่อโรคก าลังระบาด ควรพ่นในช่วง
ฤดูกาลที่ยุงลายมีการเพิ่มจ านวนมากๆด้วยเช่น ช่วงฤดูฝน เพื่อลดระดับความเสี่ยง
3. หลังจากพบผู้ป่ วยรายแรกแล้วหากภายใน 2 สัปดาห์ไม่พบผู้ป่ วยต่อเนื่องตามมา แสดงว่ายุติ
การแพร่เชื ้อได้แล้ว ก็ให้หยุดพ่นได้
4. รอบการพ่นเมื่อพบผู้ป่ วย ต้องพ่นอย่างน้อย 2 ครั ้งภายใน 7 วัน (หลังจากพ่นรอบแรกแล้ว ต้อง
พ่นซ ้า(รอบสอง) ภายใน 7วันหลังจากนั ้น)
7. ข้อแนะน าส าหรับการพ่นโดยเครื่องพ่นหมอกควันสะพายไหล่
1. ก่อนพ่นต้องวิ่งรถประชาสัมพันธ์ประกาศแจ้งประชาชนในพื ้นที่ที่จะพ่นอีกครั ้ง (ให้ครบพื ้นที่
ก่อนที่จะพ่น) ให้ผู้อาศัยปกปิ ดอาหารให้มิดชิด, ดับไฟในเตาให้เรียบร้อย, ปิ ดพัดลมและ
เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ, ปิ ดประตูหน้าต่างให้หมดเหลือไว้เพียงประตูเข้าออกบานเดียว, น าผู้อยู่
อาศัย/ผู้ป่ วย/และสัตว์เลี ้ยงออกมารออยู่ในที่ที่ปลอดภัยนอกบ้านก่อนท าการพ่น (ถ้ามีบ่อเลี ้ยง
ปลาในบริเวณบ้านหรือกรงนกที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายสัตว์ได้ให้หาผ้าหรือผ้าพลาสติกมาคลุม
ให้มิดชิดจนกว่าละอองหมอกควันจะหมดไป)
2. การพ่นต้องพ่นแบบบ้านต่อบ้าน โดยเริ่มที่บ้านที่อยู่ใต้ลมก่อนและต้องพ่นในบ้านให้ได้สิ่ง
ส าคัญต้องสังเกตทิศทางลมตลอดเวลาการพ่นอย่าเดินตามลม จะท าให้ควันลอยไปบ้านถัดไป
ก่อนที่ผู้พ่นจะเดินไปถึงท าให้ยุงบ้านถัดไปบินหนีได้ และผู้พ่นจะมีโอกาสสัมผัสโดนสารเคมีที่
พ่นออกไปเองด้วย การพ่นต้องเดินถอยหลังสวนทิศทางลมเสมอ (พ่นจากบ้านใต้ลมไปยังบ้านที่
อยู่ทางต้นลม)
3. การพ่นในอาคารบ้านเรือนต้องปิ ดประตูหน้าต่างทุกบานอบควันไว้ให้นานถึง 30 นาทีจะได้ผลดี
ยิ่งขึ ้น เนื่องจากยุงจะได้รับสารเคมีมากขึ ้นและตายอย่างแน่นอน (ให้เริ่มนับเวลาอบห้อง/บ้าน
หลังจากผู้พ่นเดินออกจากบ้านไปแล้ว)
4. เวลาในการพ่นให้พ่นประมาณ 5 ตารางเมตรต่อ 1 วินาทีโดยค านวณขนาดพื ้นที่ห้องโดยกะ
ประมาณด้วยสายตา(กว้าง x ยาว) ไดค าตอบแล้วหารอีกครั ้งด้วย5 ตารางเมตรก็จะได้จ านวน
วินาทีที่ต้องพ่น (ควรค านวณเป็ นห้องๆไป, สมมติค านวณได้ 24 ตารางเมตร ก็ต้องพ่นนาน 24/5
= 4.8 วินาที (เศษให้ปัดขึ ้น ดังนั ้นปัดเป็ น 5 วินาที), การนับวินาทีให้พ่นแล้วนับในใจว่า หนึ่งพัน
หนึ่ง, หนึ่งพันสอง,..., หนึ่งพันห้า แล้วหยุดปล่อยควัน, ปิ ดประตูอบ)
6
หน่วยงาน.ส านักโรคติดต่อน าโดยแมลง
............................................................
ฉบับที่...........1/2558……..…………….
วิธีปฏิบัติงานที่...VC-01……………….. ประกาศใช้.....29/10/2558…………......
เรื่อง..แนวทางการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน
สะพายไหล่ควบคุมโรคไข้เลือดออก
หน้าที่............6/10……………………..
5. ห้องแต่ละห้องภายในบ้าน ต้องปิ ดประตูอบหลังจากพ่นแล้วทุกห้อง
6. ห้องขนาดเล็กๆอนุโลมให้ยืนพ่นที่หน้าประตูได้ เนื่องจากควันอาจตีตลบถูกผู้พ่นอย่างรวดเร็ว
7. ล าดับการพ่นให้พ่นห้องในสุดชั ้นบนก่อน แล้วไล่ลงมาชั ้นล่างห้องในสุดจนถอยหลังออกประตู
บ้านไป
8. การพ่นนอกบ้าน รอบบ้าน ก่อนพ่นต้องดูทิศทางของลมให้ดี การพ่นควรเดินพ่นสวนทิศทางลม
เสมอ (เดินเข้าหาทิศของต้นลม) ควรพ่นเน้นจุดที่เป็ นที่ยุงใช้เกาะพักหลบแสงแดด ลม และความ
ร้อนในเวลาแดดจัดได้เช่น พุ่มไม้หนาๆข้างรั ้วและในบริเวณบ้าน ใต้ร่มไม้พุ่มเตี ้ยๆ รวมทั ้งตาม
ฝาท่อระบายน ้าด้วยเนื่องจากอาจมียุงลายที่หาที่หลบแดดไม่ทันเข้าไปเกาะพักได้
9. เครื่องพ่นหมอกควันควรได้รับการพัก 15 นาทีทุกการพ่น 45 นาที หรือพัก 15 นาทีเมื่อต้องหยุด
เติมน ้ามันเบนซินครั ้งหนึ่งๆ
10. ผู้ช่วยพ่นที่ว่างอยู่ให้ช่วยกันก าจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทั ้งในบ้านและนอกบ้านในพื ้นที่ที่พ่น
ทั ้งหมดทุกตารางเมตร โดยวิธีที่เหมาะสมและการใส่ทรายก าจัดลูกน ้า รวมทั ้งก าจัดขยะนอก
บ้านที่จะขังน ้าได้ออกให้หมด โดยเฉพาะที่บ้านผู้ป่ วย (ส าหรับการพ่นทั ้งหมูบ้าน/ชุมชน ควร
ระดมชาวบ้านออกมาช่วยกันท าด้วย บ้านต่อบ้าน)
8. ข้อควรระวัง
1. ห้ามใช้น ้าเป็ นตัวท าละลายสารเคมีโดยเด็ดขาด เนื่องจากน ้ามีจุดเดือดต ่ากว่าอุณหภูมิภายใน
ท่อพ่นอย่างมากเม็ดละอองเคมีจะถูกท าลายเพราะน ้าในเม็ดละอองเคมีจะระเหยหายไปเลยไม่
อยู่ในรูปละออง (ยกเว้นเครื่องพ่นหมอกควันที่มีท่อเสริมพิเศษที่ต้องซื ้อมาประกอบเอง เมื่อสวม
แล้วจะท าให้อุณหภูมิปลายท่อตรงหัวหยดน ้ายาเคมีมีค่าลดต ่าลงเหลือเพียง 100องศาเซนเซียส
จึงจะใช้น ้าผสมพ่นได้โดยใช้เครื่องพ่นหมอกควัน ไม่เช่นนั ้นพ่นไปก็ไม่เกิดละอองและสารเคมีก็
จะไม่มีที่ยึดเกาะท าให้ถูกเผาหรือปลิวหายไปเลย)
2. ห้ามใช้สารเคมีสูตรอื่นนอกเหนือจากสูตร EC มาพ่นหมอกควัน เพราะอาจเป็ นสารที่มีตะกอนจะ
ท าให้อุดตันหัวฉีด
3. ห้ามใช้สารเคมีก าจัดแมลงทางการเกษตรมาพ่นก าจัดยุง เนื่องจากอาจมีสารอันตรายที่กระทรวง
สาธารณสุขห้ามน ามาใช้ในอาคารบ้านเรือนเจือปนอยู่ซึ่งจะเป็ นอันตรายต่อชีวิตมนุษย์ และผิด
กฎหมายด้วย
4. ห้ามน าสารเคมีอื่นที่ไม่ใช่สารก าจัดยุงมาใช้ เช่น ยาฆ่าหญ้า
7
หน่วยงาน.ส านักโรคติดต่อน าโดยแมลง
............................................................
ฉบับที่...........1/2558……..…………….
วิธีปฏิบัติงานที่...VC-01……………….. ประกาศใช้.....29/10/2558…………......
เรื่อง..แนวทางการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน
สะพายไหล่ควบคุมโรคไข้เลือดออก
หน้าที่............7/10……………………..
5. การผสมสารเคมีต้องใช้ถังผสมต่างหากแล้วใช้ไม้กวนไม่ต ่ากว่า 15 นาที (ห้ามใช้วิธีเติมสารเคมี
และน ้ามันดีเซลเข้าไปในถังน ้ายาโดยตรงให้ผสมกันเอง เพราะน ้ายาเคมีที่ได้จะไม่เป็ นเนื ้อ
เดียวกันสม ่าเสมอ)
6. หลังจากเสร็จจากงานพ่นแล้ว หากต้องทิ ้งช่วงเวลานานหลายวันจึงจะใช้เครื่องพ่นอีกครั ้งอย่า
ปล่อยให้มีน ้ายาเคมีเก่าหลงเหลือคาถังน ้ายานานๆ เพราะสารเคมีจะตกตะกอนและเกาะตัวมี
ความหนืด จะท าให้ท่อน ้ายาอุดตันได้(ควรถ่ายออกจากถังน ้ายาใส่ภาชนะแยกไว้ แต่ทางที่ดี
ควรพ่นให้หมดเลย)
7. เครื่องพ่นหมอกควันที่ดีควรพ่นได้หมอกควันที่ค่อนข้างแห้ง เมื่อเอามือโบกผ่านปลายท่อที่ระยะ
2.5-3.0 เมตรแล้วรู้สึกมือไม่ชื ้น (หรืออาจใช้วิธีวางเครื่องพ่นแล้วปล่อยควันสัก 2-3 นาทีถ้าเห็น
พื ้นเปี ยกเป็ นทางแสดงว่าละอองมีเม็ดใหญ่ และจะไม่ลอยเพราะมีน ้าหนักมากเกินไปท าให้
สูญเสียน ้ายาพ่นไปโดยเปล่าประโยชน์ฆ่ายุงก็ไม่ได้เพราะไม่สามารถลอยไปสัมผัสตัวยุง
นอกจากนั ้นพ่นไปแล้วพื ้นบ้านจะเปี ยกน ้ามันมาก(หมอกควันที่เกิดไม่ค่อยแห้งเพราะละอองแต่
ละเม็ดมีน ้ามันมาก) ควรส่งแก้ไขด่วน (ศูนย์การเรียนรู้เรื่องเครื่องพ่นที่อยู่ตาม ศูนย์ควบคุม
โรคติดต่อน าโดยแมลงต่างๆ)
8. เครื่องพ่นหมอกควันที่ไม่มีสเกลบอกอัตราการไหลวาล์ว หรือไม่สามารถเปลี่ยนหัวฉีดเป็ นเบอร์
อื่นได้ เครื่องพ่นแบบนี ้ผู้พ่นต้องควบคุมอัตราการไหลโดยเปิ ดวาล์วท่อส่งน ้ายาเอง ซึ่งตามปกติผู้
พ่นมักเปิ ดจนสุดท าให้อัตราการไหลของน ้ายาเคมีอาจไหลออกมามากเกินไปจึงท าให้ความร้อน
ที่ต้องใช้ท าให้หยดน ้ายาแตกตัวมีไม่เพียงพอ การแตกตัวเป็ นหมอกควันจึงไม่สมบูรณ์ จะมีน ้ายา
บางส่วนแตกเป็ นละอองเล็กๆไม่ทันท าให้หลุดออกมาเป็ นละอองที่มีขนาดใหญ่มากกว่า 50
ไมครอน (ไมโครเมตร) ซึ่งละอองใหญ่ๆแบบนี ้จะตกลงพื ้นอย่างรวดเร็วจึงท าให้สิ ้นเปลืองน ้ายา
เคมีมากแต่ไม่โดนตัวยุง แม้ละอองจะมีขนาดใหญ่และไม่สามารถลอยได้ แต่ก็ยังเล็กมากจน
สายตามนุษย์มองไม่เห็น เครื่องพ่นเหล่านี ้ควรน าไปให้ศูนย์การเรียนรู้เรื่องเครื่องพ่นท าการวัดหา
ช่วงอัตราการไหลที่เหมาะสมที่ท าให้ละอองแตกตัวได้ขนาดที่เหมาะสมแล้วท าเครื่องหมายไว้ให้
ว่าเวลาใช้ให้เปิ ดวาล์วถึงต าแหน่งไหนจึงจะถูกต้อง
9. ระวังเครื่องพ่นที่ใช้งานมานานไม่เคยส่งตรวจสอบมาตรฐานเครื่องพ่นเลย อาจบกพร่องโดยผู้พ่น
ไม่รู้ตัวคือ ผลิตละอองที่มีขนาดใหญ่เกินมาตรฐานมาก (ขนาดใหญ่กว่า 50 ไมครอน) ละออง
ขนาดใหญ่พวกนี ้อาจปลิวไปตกลงในแหล่งเลี ้ยงปลา กุ้ง ปู วิธีแก้ไขปัญหานี ้คือ
8
หน่วยงาน.ส านักโรคติดต่อน าโดยแมลง
............................................................
ฉบับที่...........1/2558……..…………….
วิธีปฏิบัติงานที่...VC-01……………….. ประกาศใช้.....29/10/2558…………......
เรื่อง..แนวทางการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน
สะพายไหล่ควบคุมโรคไข้เลือดออก
หน้าที่............8/10……………………..
9.1 ส่งเครื่องพ่นตรวจสอบประสิทธิภาพและซ่อมบ ารุงเป็ นระยะๆ
9.2 ควรแจ้งเตือนเจ้าของสัตว์เหล่านี ้ได้รู้ว่าจะมาพ่นวันไหน เวลาไหน แน่นอนจะได้หาทาง
ป้ องกันสัตว์ได้รับผลกระทบอีกชั ้นหนึ่ง
9.3 หลีกเลี่ยงเส้นทางที่พ่นแล้วละอองอาจปลิวไปตกลงในบ่อปลา กุ้ง ปู
10. ปลายท่อพ่นไม่ควรจ่อใกล้ผนังหรือวัสดุที่ติดไฟง่าย ควร * * * งจากผนัง 2 เมตรขึ ้นไป
11. เวลาดับเครื่องต้องปิ ดวาล์วน ้ายาเคมีก่อนเสมอ เพื่อไม่ให้น ้ายาเคมีไหลราดออกมาหลังจากดับ
เครื่องแล้ว เพราะท่อพ่นมีความร้อนสูงน ้ายาเคมีจะลุกติดไฟได
12. ระวังเพลิงไหม้ เมื่อเกิดไฟลุกไหม้ที่ปลายท่ออย่าตกใจโยนเครื่องทิ ้ง ต้องมีสติแล้วท าดังต่อไปนี ้
12.1 ไฟจะลุกติดปลายท่อพ่นเมื่อเครื่องดับเอง หรือดับเครื่องโดยลืมปิ ดวาล์วน ้ายาเคมีก่อน
ให้รีบปิ ดวาล์วน ้ายาเคมีทันทีแล้วให้รีบสตาร์ทเครื่องต่อทันทีเมื่อเครื่องติดแล้วไฟก็จะ
ดับเองเพราะไอความร้อนของกาซเฉื่อยจากการจุดระเบิดจะไล่น ้ายาเคมีที่ลุกไหม้ให้
แตกตัวเป็ นหมอกควันออกไปพ้นจากปลายท่อพ่นจนหมด จากนั ้นจะพ่นต่อก็ได้(โดย
เปิ ดวาล์วน ้ายาพ่นต่อไป) หรือจะดับเครื่องก็ได้หลังจากไฟที่ปลายท่อดับลงแล้ว (โดย
ปิ ดการท างานของระบบส่งน ้ามันเชื ้อเพลิง)
12.2 หลังจากดับเครื่องได้แล้วให้เปิ ดฝาถังน ้ายาเคมีและถังน ้ามันเชื ้อเพลิง เพื่อลดแรงอัด
ภายในถังทั ้งสองออก
9. ความถี่ของการเข้าพ่นฟุ้ งกระจายในพื้นที่ก าลังระบาด (โดยเครื่องพ่นหมอกควันสะพายไหล่)
1. ปรกติการพ่นสามารถพ่นได้เมื่อมีการยืนยันพบผู้ป่ วยเป็ นไข้เลือดออกจากแพทย์
2. หน่วยงานที่ดูแลควบคุมโรคในพื ้นที่สามารถพ่นได้ทันทีในพื ้นที่เหล่านี ้ เช่น บ้านพักพนักงาน
ส านักงาน โรงงาน หรือโรงเรียน เป็ นต้น เมื่อสงสัยว่าอาจมีการป่ วยเป็ นโรคไข้เลือดออกเกิดขึ ้น
ในพื ้นที่เหล่านี ้ เนื่องจากถ้ารอจนแน่ใจอาจเกิดการระบาดได้เพราะเป็ นแหล่งรวมคนและรวมโรค
จากหลายๆ แห่งไว้ด้วยกัน อาจน าโรคไปแพร่ที่อื่นได้
3. การพ่นซ ้าควรพ่นอย่างน้อย 1 ครั ้ง * * * งกัน 6–7 วันหลังจากพ่นครั ้งแรกไปแล้ว แต่ถ้าจะพ่น
ทั ้งหมด 3 ครั ้ง ก็พ่นให้อยู่ภายใน 7 วันนี ้ได้ อาจใช้สูตรว่าพ่นวันเว้น 2 วันก็ได้คือพ่น day1day4
day7 จะได้ครบ 7 วันพอดี
9
หน่วยงาน.ส านักโรคติดต่อน าโดยแมลง
............................................................
ฉบับที่...........1/2558……..…………….
วิธีปฏิบัติงานที่...VC-01……………….. ประกาศใช้.....29/10/2558…………......
เรื่อง..แนวทางการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน
สะพายไหล่ควบคุมโรคไข้เลือดออก
หน้าที่............9/10……………………..
10. วัตถุประสงค์ของการพ่นซ ้า
1. เพื่อฆ่ายุงลายที่เกิดใหม่ (ระยะการเจริญจากลูกน ้าจนเป็ นยุงใช้เวลาประมาณ 7–10 วัน) หรือ
ยุงลายตัวอื่นที่จะมาดูดเลือดผู้ป่ วยซึ่งขณะนี ้อาจยังมีเชื ้อไวรัสไข้เลือดออกหลงเหลืออยู่ใน
กระแสเลือด
2. เพื่อฆ่ายุงเพศเมียที่ได้รับเชื ้อไปแล้วแต่อาจเล็ดลอดบินหนีการพ่นในรอบแรกไปได้ และก าลังบ่ม
เชื ้อใกล้จะเสร็จแล้ว (แต่ขณะนี ้ยังแพร่โรคไม่ได้ต้องบ่มเชื ้อเสร็จเสียก่อน) ซึ่งระยะบ่มเชื ้อในตัว
ยุงจะใช้เวลาประมาณ 8–10 วัน
3. เพื่อฆ่ายุงเกิดใหม่ที่มีเชื ้อในตัวมาเลยตั ้งแต่เกิดแบบทรานสโอวาเรียนให้หมดไป (ทรานสโอวา
เรียน คือ ยุงเกิดใหม่ได้รับเชื ้อจากแม่ยุงโดยเชื ้อไวรัสแอบปนเปื ้อนเข้ามาในเซลไข่ตอนที่แม่ยุง
ก าลังวางไข่ เมื่อโตขึ ้นมาก็สามารถแพร่เชื ้อต่อได้เลยทันที)
5. การประเมินผลการพ่น
ตามปกติการพ่นยุงที่มีประสิทธิภาพดีจะสามารถฆ่ายุงตัวเต็มวัยขณะนั ้นได้อย่างน้อย 90 %
และภายใน 1 สัปดาห์ หลังจากการพ่นยุงแล้วจ านวนยุงที่เคยวางไข่แล้ว (parous) ควรลดลงเหลือไม่เกิน
10% จากที่เคยมีแต่เดิมก่อนการพ่น ดังนั ้นจ านวนไข่ยุงควรลดลง (ยุงที่เคยวางไข่ คือยุงที่เคยกินเลือด
แล้วนั่นเอง ยุงจะวางไข่ได้ต้องกินเลือดก่อนหลังจากนั ้น 3 วันไข่จะสุกเต็มที่แม่ยุงจึงจะวางไข่ได้ ซึ่งยุงที่
เคยกินเลือดนี่เองมีโอกาสเป็ นยุงที่มีเชื ้อไข้เลือดออกอยู่ภายในตัว ดังนั ้นยุงพวกนี ้ควรถูกพ่นให้ตายหมด
จนไม่เหลือยุงที่มีเชื ้อไปแพร่โรคต่อไป การระบาดก็จะสิ ้นสุดลง) งานนี ้ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญด้านกีฏ
วิทยาช่วยเนื่องจากอาจต้องใช้เครื่องมือและเทคนิคทางกีฏวิทยา เช่น กับดักไข่ยุง เครื่องดูดยุงสะพาย
หลัง และเทคนิคการผ่ายุงตรวจร่องรอยการเคยวางไข่ เป็ นต้น และบางครั ้งอาจต้องประเมินถึง
ประสิทธิภาพเครื่องพ่น หรือเทคนิคการพ่นด้วย (แต่อย่างไรก็ตาม ไม่จ าเป็ นต้องท าการประเมินนี ้ทุกครั ้ง
ที่พ่น ควรมีการสุ่มเป็ นบางครั ้งเนื่องจากก าลังคนอาจไม่เพียงพอ) โดยทั่วไปแล้วหากเทคนิคการ
ปฏิบัติงานดีแล้ว เครื่องพ่นผลิตละอองที่ได้มาตรฐาน และสามารถยุติการระบาดลงได้ ก็เป็ นอันเชื่อได้แน่
ว่าการปฏิบัติงานได้ผลดี สามารถด าเนินงานได้ว่องไวทันต่อเหตุการณ์ และสามารถด าเนินงานได้ตาม
วิธีการที่ถูกต้องได้อย่างมีมาตรฐาน
10

เขียนโดย   คุณ งานบริหารงานทั่วไป
วันที่ 3 ก.ค. 2560 เวลา 17.47 น. [ IP : 1.179.198.125 ]
     
: รายละเอียด  
 
: แนบไฟล์   เลือกไฟล์ 
 
: ชื่อผู้เขียน  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สายตรงนายก

093-196-6574
ร้องทุกข์ ร้องเรียน โทร.
 
  นโยบายเว็บไซต์ | นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล | นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์ | นโยบายคุกกี้ | แผนผังเว็บไซต์  
  Version ขั้นต่ำของ Browser IE9 / Firefox 3.5 / Chrome / Safari4 / Opera10